วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย

ชื่อวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสื่อผสม

ผู้วิจัย จงรัก อ่วมมีเพียร

สรุปวิจัย กิจกรรมศิลปะเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมให้เด็กได้กล้าแสดงออกทางความคิด จิตนาการอย่างอิสระ ช่วยพัฒนาด้านต่างๆรวมถึงการพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ด้วย ครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยได้มีการนำสื่อประเภทต่างๆมาใช้ในชิ้นงานเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น เช่น วัสดุที่ทำเอง วัสดุเหลือใช้ วัสดุท้องถิ่น วัสดุจากธรรมชาติ
ในการสอนสอดแทรกความรู้ทางคณิตศาสตร์ โดยเน้นให้เด็กได้สังเกต เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับ และรู้ค่าจำนวน จากวัสดุ อุปกรณ์ในการทำกิจกรรม

กลุ่มตัวอย่าง เด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว่าง4-5 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2547 ของโรงเรียนวัดเกาะกลอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต1 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงเลือกห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่1 มา1 ห้องเรียน ทดลองเด็กทั้งห้องโดยใช้แบบทดสอบเชิงปฎิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยเลือกเด็กที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ใน 15 อันดับสุดท้าย กำหนดเป็นกลุ่มทดลอง



วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บักทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

-อาจารย์กำหมดวันทำกิจกรรมต่างๆ



-อาจารย์สรุปเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
-ให้สรุปเนื้อหาสาระและทักษะที่เรียนมาใส่กระดาษ

**งานที่มอบหมาย
-ให้นักศึกษาหาวิจัย 1 เล่ม (ห้ามซ้ำกัน) แล้วเขียนสรุปเนื้อหางานวิจัย และสามารถนำมาใช้ในคณิตศาสตร์ได้อย่างไร


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

-สอบสอนต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
-หน่วยกล้วยและหน่วยข้าวโพด

มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556

สอบสอน หน่วยส้ม

-สอนเรื่องประโยชน์ของส้ม เล่านิทานเกี่ยวกับประโยชน์ของส้ม
-ให้เด็กๆร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าชอบเมนูอาหารที่ทำจากส้ม เมนูใดมากที่สุด แล้วสรุปออกมาเป็นกราฟโดยให้เด็กนำสัญลักษณ์ที่ครูเตรียมให้ไปติดในกราฟ

สิ่งที่อาจารย์แนะนำ 
-วิธีการนับกราฟแบบ 1 ต่อ 1 เพื่อพิสูจย์ว่าเด็กชอบเมนูใดมากที่สุด โดยใช้ไม้บรรทัดปิดแล้วนับทีละแถว
-การทำกราฟควรดูจำนวนของเด็ก ถ้าเด็กมีจำนวนมากให้ทำกราฟขนาดใหญ่
-การใช้คำถามควรถามสิ่งที่น้อยที่สุดก่อน เพราะว่าเป็นสิ่งที่หมดก่อน

**งานที่มอบหมาย
-ทำ Mind map เกี่ยวกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 29 มกราคม 2556

-วางแผนการจัดกิจกรรมการแสดง
-คิดการแสดง
-แบ่งหน้าที่

-อาจารย์พูดเรื่องบูรณาการด้านคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับการวางแผนกิจกรรม
มาตรฐานที่1 การนับ
ปี 3 ทั้งหมด 63 คน
1. รำเชิญพระขวัญ /สว่างจิตร 1คน
2. ร้องเพลง หนูไม่รู้/รัตติยา 1 คน
3. โฆษณา/นิศาชล+ละมัย 2 คน 
4. พิธีกร/ลูกหยี+ซาร่า 2 คน
5. การแสดงโชว์ ลิปซิงค์เพลง /จุามาศ+นีรชา
                           เต้นประกอบเพลง /พลอยปภัส+เกตุวดี+มาลินี
                           ละครใบ้ /ลูกหมี+จันทร์สุดา
                           ตลก/ณัฐชา+ชวนชม+ดาราวรรณ รวม 10 คน
6. ผู้กำกับหน้าม้า/พวงทอง+นฎา 2 คน
7. หน้าม้า /ทั้งหมดที่เหลือ รวม 48 คน

มาตรฐานที่2 เรื่องเวลา
15.00-15.10 น.
-รำ
-ร้องเพลง-โฆษณา

15.00-15.30 น.
-พิธีกร
-การแสดงโชว์ต่างๆ

มาตรฐานที่3 เรื่องทิศทาง 


มาตรฐานที่5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-การวางแผนการทำงานต่างๆล่วงหน้า

มาตรฐานที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเตรียมตัว
-เกิดกระบวนการคิด , การเรียงลำดับเหตุการณ์


ทั้ง 5 สาระ สามารถบูรณาการกับคณิตศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง




บักทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12


วันอังคารที่ 22 มกราคม 2556

-ส่งสื่อคณิตศาสตร์ (กราฟ)



-อาจารย์แนะนำพิ่มเติม
> เพิ่มช่องสำหรับใส่หัวข้อ
> เพิ่มที่สำหรับปักหมุดไว้ด้านข้างที่เก็บเชือก

-อาจารย์แนะนำการสอบสอน
> การแยก มีส้มเขียวหวาน 4 ผล มีส้มจี๊ด 6 ผล
> การรวม ส้มเขียวหวาน 4 ผล+ส้มจี๊ด 6 ผล = มีส้มทั้งหมด 10 ผล
> การเปรียบเทียบ เปรียบเทียบจำนวนของสองชนิดโดยการจับคู่ 1 ต่อ 1

-สื่อทางคณิตศาสตร์ควรเป็ยสื่อที่สามารถหยิบจับได้เด็กได้ลงมือปฎิบัติก็จะเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
-ใช้นิทานในการสอนเนื้อหา ทำให้เด็กเข้าใจได้ง่าย และ น่าสนใจ



วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556

-ส่งฝาขวดน้ำ


-ฝาขวดน้ำ สามารถนำมาใช้คณิตศาสตร์อย่างไรบ้าง

มาตรฐานที่ 1 การนับและการดำเนินการ
-นับจำนวนทั้งหมด (การนับ,เศษส่วน)
-การแทนค่าด้วยตัวเลข

มาตรฐานที่ 2 การวัด
-ต้องมีเครื่องมือในการวัด หลังจากวัดจะได้ค่าหรือปริมาณ และหน่วยในการวัดและแทนค่าด้วยตัวเลข เช่น วัดระยะห่างและแทนค่าด้วยตัวเลข ใช้หน่วยของระยะทางที่เปนจำนวนฝา
-นำระยะห่างของฝามาเปรียบเทียบ และสรุปเป็นกราฟตัวอย่าง

มาตรฐานที่ 3 เลขาคณิต
-ทำกระดาษเป็นรูปทรงต่างๆและนำมาติดกับฝา
-ตำแหน่งและทิศทาง เหนือ ใต้ ตะวันตก ระหว่าง กลาง ใกล้ ไกล

มาตรฐานที่ 4 พีชคณิต
-แบบรูป แพทเทิล การทำตามแบบ เช่น ตัวเลข ตำแหน่งของการเขียนตัวเลข เครื่องหมาย การเรียงตามความสัมพันธ์ ตัวอย่างเกม เช่น เกมจับคู่ เกมความสัมพันธ์สองแกน

มาตรฐานที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
เช่น -วิเคราะห์ข้อมูลระยะทางทั้ง 2ทาง
       -การสอนเรื่องขนมไทย เด็กๆชอบขนมอะไร หาความสัมพันธ์ด้วยกราฟ
       -การเชคจำนวนเด็กนักเรียนที่มาเรียนและขาดเรียน

**งานที่มอบหมาย

-แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8-9 คน
-ให้ทำกราฟและบรอดข้อมูลกลุ่มละ 1 ชิ้น